อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล

  • หน้าแรก
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในระบบบริการสุขภาพ

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล


การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในระบบบริการสุขภาพ
    • โรงพยาบาล / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : รพ.สต.
    • ร้านยา
    • คำคม/คำกลอนดีๆจากน้องพี่ RDU
  • การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ.2560
    • คู่มือการการเรียนการสอนด้านใช้ยาอย่างสมเหตุผล สำหรับ 5 วิชาชีพ (ปีพ.ศ. 2563)
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ
    • การคัดเลือกสถาบันการศึกษาตัวอย่างด้าน RDU
  • การพัฒนาธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
    • ธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชน
    • แอปพลิเคชัน RDU รู้เรื่องยา
    • สื่อวิดิทัศน์สำหรับประชาชน
  • ทีมวิชาการสนับสนุนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • ทีมวิชาการ RDU hospital (อยู่ระหว่างรวบรวม)
    • ทีมวิชาการ RDU primary care (รพสต.)
  • เครือข่ายใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • เครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHosNet)
    • ศูนย์วิชาการฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
    • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
    • การดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance : AMR)
    • โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antbiotics Smart Use)
    • ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ
    • RDU จังหวัดขอนแก่น
  • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน (RDU Community)
    • แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน
  • การขับเคลื่อนสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Country)
    • นโยบายประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • {"th":"สถานการณ์การดำเนินงานเพื่อพัฒนาสู่ "อำเภอการใช้ยาสมเหตุผล" ตามแนวทางประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล"}
  • การปรับประเภทยาต้านจุลชีพ (Reclassification)
    • ระยะที่ 1 กลุ่มยารักษาวัณโรค
    • ระยะที่ 2 ยาต้านจุลชีพสำหรับมนุษย์ ชนิดยารับประทาน
  • การจัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพเครื่อข่ายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2564
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2565
  • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 ข่าวสาร
    • รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
    • คำอธิบายตัวชี้วัดและแนวทางพัฒนาตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566

คู่มือแนวทางการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับร้านยาในการดูแลรักษาอาการเบื้องต้น

 

คู่มือแนวทางการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับร้านยาในการดูแลรักษาอาการเบื้องต้น.jpg

download-icon.png

 

  สืบเนื่องจากมติคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. 2561 ได้มีนโยบายขับเคลื่อนประเทศไทยให้เป็น “ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล” ซึ่งหมายถึง ประเทศที่มีระบบกลไกที่ทำให้เกิดการใช้ยาอย่างสมเหตุผลสอดคล้องตามแนวทางขององค์การอนามัยโลก (WHO) การสร้างความรอบรู้ของบุคลากรสุขภาพด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลเป็นกลยุทธ์ในยุทธศาสตร์ที่ 1 ได้แก่ การมีจิตสำนึกที่ดีและความตระหนักรู้ของบุคคลต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล ซึ่งมีสภาวิชาชีพ 5 วิชาชีพได้แก่ แพทยสภา ทันตแพทยสภา สภาเภสัชกรรม สัตวแพทยสภา และสภาการพยาบาล เป็นหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบ ในการที่จะให้กลยุทธ์ดังกล่าวสัมฤทธิ์ผลนั้นระบบกลไกสำคัญคือ การพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนของวิชาชีพในการศึกษาก่อนปริญญาที่เน้นการเรียนรู้จากปัญหาที่เกิดขึ้นจริง (problem based) และมีการพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง “คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในวิชาชีพการสัตวแพทย์” ฉบับนี้ได้จัดทำขึ้นโดย “คณะกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนและการติดตามประเมินการบูรณาการ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในวิชาชีพการสัตวแพทย์” ตามแนวทางใน“คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 2560” ซึ่งเป็นแนวทางที่แนะนำจากองค์การอนามัยโลก สถาบันสุขภาพและความเป็นเลิศทางด้านการแพทย์แห่งชาติ (NICE) ในสหราชอาณาจักร องค์กรเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID) และกลุ่มองค์กรเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนเรื่องการใช้ยาในต่างประเทศหลายแห่ง

      คู่มือฯ ฉบับนี้พัฒนาขึ้นด้วยความร่วมมือของคณะกรรมการหลายชุดซึ่งประกอบด้วยคณาจารย์จากคณะสัตวแพทยศาสตร์ สถาบันต่างๆ ที่มีประสบการณ์การจัดการเรียนการสอนสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต ทั้งระดับพรีคลินิกและระดับคลินิก มาระดมสมองในการจัดทำเนื้อหาหลักและสมรรถนะที่จำเป็นสำหรับการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในวิชาชีพการสัตวแพทย์ โดยจัดทำโมดูลตัวอย่าง 3 โมดูลที่มีความหลากหลายในการใช้ยา เพื่อให้ครูผู้สอนวิชาชีพการสัตวแพทย์ในประเทศไทยใช้เป็นแนวทางในการจัดกระบวนการเรียนการสอนสำหรับผู้เรียนในระดับปริญญาตรีได้มีความรู้ ทักษะและเจตคติที่เอื้อต่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในการประกอบวิชาชีพการสัตวแพทย์

      คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือฯฉบับนี้จะเป็นแหล่งข้อมูลที่ช่วยให้คณาจารย์สัตวแพทย์นำไปใช้จัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมตามบริบทของแต่ละสถาบัน โดยมีเป้าประสงค์เดียวกันคือ การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในวิชาชีพการสัตวแพทย์

 

คณะกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนและการติดตามประเมินการบูรณาการ

การใช้ยาอย่างสมเหตุผลในวิชาชีพการสัตวแพทย์

สิงหาคม 2563


download-icon.png

The Key Success of Rational Drug Use RDU & Antibiotic Smart Use ASU in Primary Care Unit 

   การประชุมวิชาการ Teleconference วันที่ 24 เมษายน 2561 โดย พญ.ปรารถนา อุนจะนำ กุมารแพทย์โรคติดเชื้อ ภญ.สุกานต์ดา เด่นจันตา เภสัชกรชำนาญการ รพ.เชียงรายประชานุเคราะห์


เพลง MV Cookie RDU Detudom

  เพื่อส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในโรงพยาบาลและรพ.สต. ทำนอง : ซาวด์ดนตรี Koisuru Fortune Cookie คุกกี้เสี่ยงทาย / BNK48

  แต่งโดย/นักแสดง : Drg/เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดมและอาสาสมัครสาธารณสุข


การใช้ยาฏิชีวนะใน Upper Respiratory Tract Infections และ Acute Diarrhea

  1. Effectiveness of Multifaceted Interventions on Rational Use of Antibiotics for Patients with Upper Respiratory Tract Infections and Acute Diarrhea

การใช้ยาฏิชีวนะในการรักษา Fresh Traumatic Wound

  1. Implementation of Antibiotic Use Guidelines for Fresh Traumatic Wound at Siriraj Hospital

การจัดการโรคแทรกซ้อนในหญิงตั้งครรภ์และคลอดบุตร

  1. การใช้ยาปฏิชีวนะป้องกันการติดเชื้อในหญิงคลอดบุตร หน้า C-106 WHO - Managing complications in pregnancy and childbirth: a guide for midwives and doctors – 2nd ed.

การใช้ยาปฏิชีวนะในแต่ละโรค

  1. Individual feedback to reduce inappropriate antimicrobial prescriptions for treating acute upper respiratory infections in an outpatient setting of a Thai university hospital
  2. Treatment Outcomes of the Uncomplicated Upper Respiratory Tract Infection and Acute Diarrhea in Preschool Children Comparing Those with and without Antibiotic Prescription.

การใช้ตำรับยาแผนโบราณ

  1. ตำรับยาหอม - Efficacy and safety of “Yahom” as a traditional Thai herbal therapy: A systematic review
  2. ตำรับยาเหลืองปิดสมุทร - Anti-diarreal activity and toxicity of Learng Pid Samud recipe
  3. ตำรับยาจันทน์ลีลา - Anti-inflammatory and anti-ulcerogenic activities of Chantaleela recipe


ดาวน์โหลดรายการประเมิน

เพื่อให้การดำเนินงานของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัดเกิดขึ้นอย่างเป็นระบบ 
รายการประเมินตนเองของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบำบัด (Uhosnet Pharmacy and Therapeutics Committees Checklists)
 
ถือเป็นตัวช่วยที่ดีตามข้อเสนอแนะขององค์การอนามัยโลกและแนวปฏิบัติของคณะอนุกรรมการส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 


download-icon.png

 R-D-U we all do together

ร่วมใช้ยา อย่า over เกินเหตุผล

  ยึด evidence เป็นหลัก ประจักษ์ตน

เสริมพลัง สร้างคน รู้ทันยา

By SufyanLateh


การใช้ยาสมเหตุผลในร้านยาเล่ม 2 (Rational Drug Use in Community Pharmacy)


คู่มือการใช้ยาสมเหตุผลในร้านยา เล่ม 2.png




download-icon.png

แนวทางการใช้คำทับศัพท์ภาษาไทย ชื่อยาและรูปแบบ

ตามหลักเกณฑ์การทับศัพท์ภาษาอังกฤษของสำนักงานราชบัณฑิตยสภา เพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในทุกสถานพยาบาล

 ถึงเวลา RDU กู่ก้องฟ้า

ไทยทั่วหล้า ใช้ยาดี มีเหตุผล

  ลดปัญหา เชื้อดื้อยา พาอับจน

เราทุกคน ใช้ยาเป็น เน้นปลอดภัย

By SufyanLateh


12
แสดงผล รายการ
อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION

กองนโยบายแห่งชาติด้านยา
ห้อง 603 อาคาร 4 ชั้น 6 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

โทรศัพท์ 0 2590 7000 ต่อ 71417
อีเมลนโยบายแห่งชาติด้านยา nlem.policy@gmail.com
อีเมลการใช้ยาอย่างสมเหตุผล rdu.th2015@gmail.com
อีเมลบัญชียาหลักแห่งชาติ nlem.fda@gmail.com
อีเมลราคายา nlem.price@gmail.com
อีเมลแจ้งปัญหายาขาดแคลน drugshortages.th@gmail.com

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Website Security Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

Sitemap
เมนูหลัก
  • ข้อมูลยา
  • บัญชียาหลัก
  • ราคายา
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • คำถามที่พบบ่อย
  • เกี่ยวกับเรา
เมนูลัด
  • หน้าแรก
  • ระบบสมาชิก
  • ติดต่อเรา
  • เว็บลิงก์ที่สำคัญ

Follow us :
  • youtube.pnghttps://www.youtube.com/@NLEMFDA
  • line.pnghttps://lin.ee/k6QvQ4B
ผู้ชมเว็บไซต์ :

rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
  • แบบสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ
  • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
  • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Subscribe

เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

no-popup