อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล

  • หน้าแรก
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชน

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล


การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในระบบบริการสุขภาพ
    • โรงพยาบาล / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : รพ.สต.
    • ร้านยา
    • คำคม/คำกลอนดีๆจากน้องพี่ RDU
  • การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ.2560
    • คู่มือการการเรียนการสอนด้านใช้ยาอย่างสมเหตุผล สำหรับ 5 วิชาชีพ (ปีพ.ศ. 2563)
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ
    • การคัดเลือกสถาบันการศึกษาตัวอย่างด้าน RDU
  • การพัฒนาธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
    • ธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชน
    • แอปพลิเคชัน RDU รู้เรื่องยา
    • สื่อวิดิทัศน์สำหรับประชาชน
  • ทีมวิชาการสนับสนุนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • ทีมวิชาการ RDU hospital (อยู่ระหว่างรวบรวม)
    • ทีมวิชาการ RDU primary care (รพสต.)
  • เครือข่ายใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • เครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHosNet)
    • ศูนย์วิชาการฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
    • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
    • การดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance : AMR)
    • โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antbiotics Smart Use)
    • ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ
    • RDU จังหวัดขอนแก่น
  • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน (RDU Community)
    • แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน
  • การขับเคลื่อนสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Country)
    • นโยบายประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • {"th":"สถานการณ์การดำเนินงานเพื่อพัฒนาสู่ "อำเภอการใช้ยาสมเหตุผล" ตามแนวทางประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล"}
  • การปรับประเภทยาต้านจุลชีพ (Reclassification)
    • ระยะที่ 1 กลุ่มยารักษาวัณโรค
    • ระยะที่ 2 ยาต้านจุลชีพสำหรับมนุษย์ ชนิดยารับประทาน
  • การจัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพเครื่อข่ายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2564
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2565
  • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 ข่าวสาร
    • รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
    • คำอธิบายตัวชี้วัดและแนวทางพัฒนาตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566

รณรงค์ซองยาต้องมีชื่อยา - โครงการรณรงค์เขียนชื่อยาบนซองยา

     ลดปัญหา

             - การแพ้ยาซ้ำ

             - ได้รับยาเกินขนาดซ้ำซ้อน

             - ขาดการรักษาต่อเนื่อง

             - เสียทรัพย์โดยเปล่าประโยชน์

             

สามารถกดรับชมสื่อซองยาต้องมีชื่อยาได้ที่นี่ - เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภค จ.อุบลราชธานี


ยาปฏิชีวนะ เป็นยาฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Antibiotic) ใช้รักษาเฉพาะกับโรคทีติดเชื้อแบคทีเรีย

ยาแก้อักเสบ (ยาต้านอักเสบ) เป็นยาที่ออกฤทธิ์ลดอาการอักเสบ ลดอาการปวด บวม แดง ไม่มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรีย

"ยาปฏิชีวนะ ≠ ยาแก้อักเสบ"

สามารถกดรับชมสื่อ ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ ยาแก้อักเสบได้ที่นี่


การเช็ดตัวเด็กเมื่อเป็นไข้

การชักเมื่อไข้สูงมักไม่เกิดในเด็อายุ 6 ปีขึ้นไป การรักษาไข้ไม่ใช่การรักษาอุณหภูมิให้ปกติ แต่เป็นการลดความทุกข์ทรมานจากพิษไข้เท่านั้น อุณหภูมิที่สูงขึ้นจะทำให้ร่างกายได้พักผ่อนเต็มที่ เม็ดเลือดขาวจะทำงานได้ดี และร่างกายจะเยียวยาตัวเองได้ ดังนั้นการปลุกเด็กขึ้นมาเช็ดตัวเมื่อหลับแล้วไม่ควรทำ

สามารถกดรับชมสื่อการเช็ดตัวเด็กเมื่อเป็นไข้ได้ที่นี่


อันตรายจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดความอ้วน

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารควรได้รับคำแนะนำจากเภสัชกร เพราะบางผลิตภัณฑ์อาจใส่สารไซบูทรามีน ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางที่จะไปลดสารสื่อประสาท ส่งผลให้ไม่รู้สึกหิว อืลิ่มเร็วขึ้น ปากแห้ง คลื่่นไส้ ไตวาย ท้องผูก ระบบทางเดินอาหารผิดปกติ ปวดหัว นอนไม่หลับ มีโอกาสเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดตีบตัน อาจเสียชีวิต การทานอาหารที่มีประโยชน์ร่วมกับการออกกำลังกายเป็นทางเลือกที่ดีที่สุด

สามารถกดรับชมสื่ออันตรายจากผลิตภัณฑ์เสริมอาหารลดความอ้วนได้ที่นี่


ยาพาราเซตามอลสำหรับเด็ก

วิธีคำนวณยาพาราเซตามอลในเด็ก สิ่งที่ต้องรู้ คือ (1) น้ำหนักตัวและอายุ (2) ความเข้มข้นของยาใน 1 ช้อนชา

การคำนวณ : เด็กได้ยา 10-15 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม

น้ำหนักตัว (กิโลกรัม) X ปริมาณยาที่ต้องใช้ (10-15 มิลลิกรัม)

สามารถกดรับชมสื่อยาพาราเซตามอลสำหรับเด็กได้ที่นี่


ยาชุดอันตราย

ยาชุดมีสารอันตราย หากทานยาชุดเป็นเวลานานอาจทำให้ ไตฝ่อ ไตวาย กระดูกหักง่าย ตาเป็นต้อหิน ต้อกระจก นอนไม่หลับ หงุดหงิดง่าย เลือดออกในกระเพาะอาหาร หรืออาจติดเชื้อเป็นอันตรายถึงชีวิต การใช้ยาทุกครั้งควรปรึกษาเภสัชกร

สามารถกดรับชมสื่อยาชุดอันตรายได้ที่นี่


ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจำเป็นกับร่างกายเราหรือไม่ ?

ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารไม่ใช่ยา ไม่สามารถรักษาโรคได้ หากทานอาหารครบ 5 หมู่ ก็จะได้รับสารอาหารครบถ้วน

ก่อนเลือกทานผลิตภัณฑ์เสริมอาหารควรปรึกษาเภสัชกร

สามารถกดรับชมสื่อผลิตภัณฑ์อาหารเสริมจำเป็นกับร่างกายเราหรือไม่ได้ที่นี่


การดื้อยา

ปัจจุบันเชื้อดื้อยาเพิ่มความรุนแรงมากขึ้น ตามผลการวิจัยระบุว่า ทุกๆ 15 นาที จะมีคนไทยเสียชีวิตจากเชื้อดื้อยา ซึ่งยาปฏิชีวนะไม่ใช่ยาแก้อักเสบ และยาปฏิชีวนะใช้กำจัดเชื้อเฉพาะแบคทีเรียเท่านั้น การใช้ยาไม่ตรงข้อบ่งชี้ เช่น การกินยาปฏิชีวนะเผื่อไว้ก่อนทั้งๆ ที่ยังไม่ติดเชื้อแบคทีเรีย หรือการเจ็บคอส่วนใหญ่เป็นเชื้อไวรัสหากทานยาปฏิชีวนะจะเกิดปัญหาเชื้อดื้อยาเป็นต้น

สามารถกดรับชมสื่อการดื้อยาได้ที่นี่


การใช้ยาพาราเซตามอลอย่างถูกต้อง ต้องคำนวณตามน้ำหนักตัว เพราะการใช้ยาพาราเซตามอลเกินขนาดมีผลอันตรายต่อตับ 

ห้ามทานยาพาราเซตามอลเกิน 1,000 มิลลิกรัมต่อครั้ง

ห้ามทานยาพาราเซตามอลเกิน 4,,000 มิลลิกรัมต่อวัน

สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยาพาราเซตามอลอย่างถูกต้องได้ที่นี่


การใช้ยาให้ถูกเวลานั้นมีข้อกำหนดระยะเวลาในการทานยา และกรณีลืมทานยา ดังนี้

1. ยาก่อนอาหาร

ควรรับประทานตอนท้องว่าง หรือก่อนอาหาร 15-20 นาที เพื่อให้ยาถูกดูดซึมได้ดีที่สุด และเกิดประสิทธิผลในการรักษา

2. ยาหลังอาหาร 

เพื่อให้อาหารมาช่วยในการดูดซึมยา จึงรับประทานหลังอาหาร

3. ยาหลังอาหารทันที 

จำเป็นต้องมีอาหารรองท้องและทานหลังอาหารทันที เพื่อป้องกันการระคายเคืองระบบทางเดินอาหาร

4. ยาก่อนนอน

ทานก่อนนอนเวลากลางคืน

เมื่อลืมทานยา : ห้ามเพิ่มขนาดยาในการทานมื้อถัดไป

สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยาให้ถูกเวลาได้ที่นี่


12
แสดงผล รายการ
อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION

กองนโยบายแห่งชาติด้านยา
ห้อง 603 อาคาร 4 ชั้น 6 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

โทรศัพท์ 0 2590 7000 ต่อ 71417
อีเมลนโยบายแห่งชาติด้านยา nlem.policy@gmail.com
อีเมลการใช้ยาอย่างสมเหตุผล rdu.th2015@gmail.com
อีเมลบัญชียาหลักแห่งชาติ nlem.fda@gmail.com
อีเมลราคายา nlem.price@gmail.com
อีเมลแจ้งปัญหายาขาดแคลน drugshortages.th@gmail.com

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Website Security Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

Sitemap
เมนูหลัก
  • ข้อมูลยา
  • บัญชียาหลัก
  • ราคายา
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • คำถามที่พบบ่อย
  • เกี่ยวกับเรา
เมนูลัด
  • หน้าแรก
  • ระบบสมาชิก
  • ติดต่อเรา
  • เว็บลิงก์ที่สำคัญ

Follow us :
  • youtube.pnghttps://www.youtube.com/@NLEMFDA
  • line.pnghttps://lin.ee/k6QvQ4B
ผู้ชมเว็บไซต์ :

rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
  • แบบสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ
  • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
  • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Subscribe

เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

no-popup