อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
EN
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • หน้าแรก
  • ข้อมูลยา / ผลิตภัณฑ์สมุนไพร
  • บัญชียาหลักแห่งชาติ
  • ยาขาดแคลน
  • ราคายา
  • นโยบายแห่งชาติด้านยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • ติดต่อเรา
  • ร้องเรียน
  • คำถามที่พบบ่อย
ภาษา
EN
image assembly
การเข้าถึง
close assembly
  • ขนาดตัวอักษร
    • ก
    • ก
    • ก
  • การเว้นระยะห่าง
    • icon space 1
    • icon space 2
    • icon space 3
  • ความตัดกันของสี
    • icon color 1สีปกติ
    • icon color 2ขาวดำ
    • icon color 3ดำ-เหลือง
banner

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล

  • หน้าแรก
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชน

การใช้ยาอย่างสมเหตุผล


การใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • เกี่ยวกับการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
  • การพัฒนาการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในระบบบริการสุขภาพ
    • โรงพยาบาล / โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล : รพ.สต.
    • ร้านยา
    • คำคม/คำกลอนดีๆจากน้องพี่ RDU
  • การพัฒนากำลังคนด้านสุขภาพเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • คู่มือการเรียนการสอนเพื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผล พ.ศ.2560
    • คู่มือการการเรียนการสอนด้านใช้ยาอย่างสมเหตุผล สำหรับ 5 วิชาชีพ (ปีพ.ศ. 2563)
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ
    • การคัดเลือกสถาบันการศึกษาตัวอย่างด้าน RDU
  • การพัฒนาธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
    • ธรรมาภิบาลระบบยาว่าด้วยการส่งเสริมการขายยา
  • การใช้ยาอย่างสมเหตุผลสำหรับประชาชน
    • แอปพลิเคชัน RDU รู้เรื่องยา
    • สื่อวิดิทัศน์สำหรับประชาชน
  • ทีมวิชาการสนับสนุนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • ทีมวิชาการ RDU hospital (อยู่ระหว่างรวบรวม)
    • ทีมวิชาการ RDU primary care (รพสต.)
  • เครือข่ายใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • เครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHosNet)
    • ศูนย์วิชาการฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
    • กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
    • การดื้อยาต้านจุลชีพ (Antimicrobial Resistance : AMR)
    • โครงการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผล (Antbiotics Smart Use)
    • ตาไว รู้ทันภัยสุขภาพ
    • RDU จังหวัดขอนแก่น
  • การส่งเสริมการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน (RDU Community)
    • แนวทางการดำเนินงานพัฒนาระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชน
  • การขับเคลื่อนสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU Country)
    • นโยบายประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • {"th":"สถานการณ์การดำเนินงานเพื่อพัฒนาสู่ "อำเภอการใช้ยาสมเหตุผล" ตามแนวทางประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล"}
  • การปรับประเภทยาต้านจุลชีพ (Reclassification)
    • ระยะที่ 1 กลุ่มยารักษาวัณโรค
    • ระยะที่ 2 ยาต้านจุลชีพสำหรับมนุษย์ ชนิดยารับประทาน
  • การจัดการความรู้และพัฒนาศักยภาพเครื่อข่ายการใช้ยาอย่างสมเหตุผล
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2564
    • การประชุมเชิงปฏิบัติการ ปีงบประมาณ 2565
  • ตัวชี้วัดการใช้ยาอย่างสมเหตุผล กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 ข่าวสาร
    • รายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 (กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
    • คำอธิบายตัวชี้วัดและแนวทางพัฒนาตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566

การใช้ยาให้ถูกกับโรคนั้นมีหลัก 5 ประการเพื่อให้เกิดการใช้ยาที่ถูกต้อง

1. ใช้ยาให้ถูกโรค

2. ใช้ยาให้ถูกคน

3. ใช้ยาให้ถูกเวลา

4. ใช้ยาให้ถูกขนาด

5. ใช้ยาให้ถูกวิธี

การเลือกใช้ยาควรเป็นหน้าที่ของแพทย์หรือเภสัชกรในการวินิจฉัยโรคและจ่ายยา หากมีความจำเป็นต้องซื้อยาทานเองต้องปรึกษาเภสัชกรทุกครั้ง

สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยาให้ถูกกับโรคได้ที่นี่


การใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ (Special Population) ผู้ป่วยกลุ่มพิเศษ หมายถึง เด็ก ผู้สูงวัย หญิงมีครรภ์ หญิงให้นมบุตร ผู้ป่วยโรคตับ ผู้ป่วยโรคไต ผู้ป่วยเหล่านี้ต้องเพิ่มความระมัดระวังในการใช้ยามากขึ้น เพราะอาจเสี่ยงต่อพิษจากยา โดยเฉพาะในเด็กต้องอ่านวิธีการผสมยาและการตวงยาให้ได้ขนาดที่ถูกต้อง และใช้อุปกรณ์ตวงยามาตรฐานเสมอ ก่อนใช้ยาควรปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกรทุกครั้ง

สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยาในผู้ป่วยกลุ่มพิเศษได้ที่นี่ 


การเก็บรักษายา (Storage) หากเก็บยาไม่ถูกต้องอาจส่งผลลดฤทธิ์การรักษาและเป็นอันตรายได้ วิธีเก็บยาที่ถูกต้อง คือ

1. เก็บยาในที่แห้ง ปิดสนิท

2. ห้ามเก็บยาในห้องน้ำ ในที่แดดส่อถึง หรือในรถ

3. ยาบางชนิดต้องเก็บในตู้เย็นช่องเย็นธรรมดา ไม่เก็บในช่องแช่แข็ง

4. ไม่แกะยาออกจากแผงล่วงหน้า เพราะยาอาจเสื่อมสภาพ

สามารถกดรับชมสื่อการเก็บรักษายาได้ที่นี่


ความไม่ร่วมมือในการใช้ยาตามสั่ง (Non-compliance) ผู้ป่วยมักคิดว่าเมื่ออาการหายดีแล้วก็หยุดกินยาได้เอง ซึ่งอาจเกิดอันตรายต่อร่างกายได้ จึงควรใช้ยาให้ถูกต้องดังนี้

1. ใช้ยาตามวิธีที่ระบุไว้ในฉลาก

2. ใช้ยาต่อเนื่องตามแพทย์สั่ง

3. ห้ามเพิ่ม ลด หรือหยุดยาเอง

"ควรใช้ยาตามแพทย์สั่ง เพื่อให้ได้ผลดีที่สุดในการรักษา"

สามารถกดรับชมสื่อความไม่ร่วมมือในการใช้ยาตามสั่งได้ที่นี่


โปสเตอร์ประชาสัมพันธ์

ดาวน์โหลดโปสเตอร์


media-app.jpg


สแตนดี้ประชาสัมพันธ์


กำลังดำเนินการ

 

คลิปประชาสัมพันธ์

RDU Mobile Appilcation - คลิปวีดีโอแนะนำแอปพลิเคชั่น RDU ค้นหาข้อมูลยา การใช้ยาที่ถูกต้องสมเหตุผล

แอพพลิเคชั่น RDU เพิ่มความปลอดภัยการใช้ยา (9 ม.ค. 60) - รายงานพิเศษ : แอพพลิเคชั่น RDU
เพิ่มความปลอดภัยการใช้ยา ทางช่อง TNN24 ออกอากาศทางทีวีช่อง 16

ตรวจสอบข้อมูลยา ผ่านแอปพลิเคชัน RDU (10 ม.ค. 60) - รายการจับตาสถานการณ์ วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 10.00 - 12.30 น. ทางไทยพีบีเอส


คำอธิบาย

  แอปพลิเคชันให้ข้อมูลการใช้ยาอย่างรอบรู้ในยุคดิจิทัล ด้วยการค้นหารายการยา และ scan QR Code บนหน้าซองยา เพื่อเพิ่มความสะดวกให้แก่ประชาชนในการบันทึกข้อมูลยาของตน สามารถเข้าถึงข้อมูลการใช้ยาและองค์ความรู้เกี่ยวกับการใช้ยาที่ที่ถูกต้องน่าเชื่อถือ รวมถึงสามารถค้นหาโรงพยาบาลและร้านยาคุณภาพได้ พัฒนาโดยเครือข่ายโรงพยาบาลกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (UHosNet) ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศูนย์พัฒนามาตรฐานระบบข้อมูลสุขภาพไทย (ศมสท.) สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)

 

คู่มือการใช้งานแอปพลิเคชัน

ดาวน์โหลดคู่มือการใช้งาน


rdu-guide-people.jpg


ดาวน์โหลดแอปพลิเคชันสำหรับ App Store

Scan QR Code


app store.png


หรือ กดเพื่อดาวน์โหลด

ดาวน์โหลดแอปพลิเคชันสำหรับ Google Play


Scan QR Code


google play.png

หรือ กดเพื่อดาวน์โหลด




การใช้ยามากเกินจำเป็น (Polypharmacy) จะส่งผลเสียต่อร่างกายมากกว่าการช่วยรักษา ดังนั้นการใช้ยาที่ปลอดภัย ควรปฏิบัติดังนี้

1. ไม่ใช้ยาที่ได้ผลเหมือนกันพร้อมกันหลายชนิด

2. ไม่ใช้ยาจากการบอกต่อ หรือโฆษณาเกินจริง

3. ไม่เพิ่มปริมาณยาเอง

4. ควรแจ้งแพทย์และเภสัชกรเมื่อรับยาหลายๆ ที่

      จำไว้ว่า "ควรใช้ยาตามความจำเป็นจากแพทย์หรือเภสัชกรเท่านั้น"

สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยามากเกินจำเป็นได้ที่นี่



การแพ้ยา (Drug Allergy) การแพ้ยาสามารถเกิดได้กับทุกคน ซึ่งอาการแพ้ยามีหลายอย่าง ตั้งแต่อาการเล็กน้อยไปจนรุนแรงถึงเสียชีวิต ดังนั้นเพื่อลดโอกาสและความรุนแรงในการแพ้ยา ควรปฏิบัติดังนี้

ถ้าเคยแพ้ยา 

   (1) ควรจำชื่อยาและอาการที่เคยแพ้

   (2) แสดงบัตรแพ้ยา หรือแจ้งชื่อยาที่แพ้ทุกครั้งแก่แพทย์และเภสัชกร

ถ้าใช้ยาแล้วมีอาการผิดปกติ

   มีอาการคัน ปากบวม ตามัว เจ็บผิวหนัง หรืออาการอื่นๆ ที่ไม่แน่ใจ ควรหยุดยาที่สงสัยและนำยาไปปรึกษาแพทย์

สามารถกดรับชมสื่อการแพ้ยาได้ที่นี่


การใช้ยาอย่างสมเหตุผล (Rational Drug Use) 



5 ไม่

5 ให้

1. ไม่กินยาผิดเวลา

1. ให้อ่านฉลากยาและปฏิบัติตามคำแนะนำ

2. ไม่เพิ่ม ลด หรือหยุดยาเองตามใจชอบ

2. ให้ใช้ยาเมื่อจำเป็น

3. ไม่ใช้ยาของคนอื่น

3. ให้จัดเก็บยาอย่างถูกต้อง

4. ไม่ซื้อยากินเองซ้ำซ้อน

4. ให้นำยามาด้วยเมื่อมาโรงพยาบาล

5. ไม่เชื่อคำโฆษณาเชิญชวน

5. ให้แจ้งชื่อยาที่แพ้เสมอ


สามารถกดรับชมสื่อการใช้ยาอย่างสมเหตุผลได้ที่นี่


สรรหายา/สมุนไพร/ผลิตภัณฑ์สุขภาพมาใช้ (Self-medication) เราไม่ควรซื้อยา / สมุนไพร / ผลิตภัณฑ์มากินเองตามคำโฆษณาชวนเชื่อ เพราะอาจมีสารที่เป็นอันตรายและส่งผลเสียต่อร่างกายได้ ยาที่ดีที่สุดและเห็นผลอย่างยั่งยืนสำหรับทุกโรคและทุกคน คือ

1. กินอาหารที่มีประโยชน์

2. พักผ่อนให้เพียงพอ

3. ออกกำลังกานสม่ำเสมอ

สามารถกดรับชมสื่อสรรหายา/สมุนไพร/ผลิตภัณฑ์สุขภาพมาใช้ได้ที่นี่


12
แสดงผล รายการ
อย
กองนโยบายแห่งชาติด้านยา

NATIONAL DRUG POLICY DIVISION

กองนโยบายแห่งชาติด้านยา
ห้อง 603 อาคาร 4 ชั้น 6 สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
88/24 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11000

โทรศัพท์ 0 2590 7000 ต่อ 71417
อีเมลนโยบายแห่งชาติด้านยา nlem.policy@gmail.com
อีเมลการใช้ยาอย่างสมเหตุผล rdu.th2015@gmail.com
อีเมลบัญชียาหลักแห่งชาติ nlem.fda@gmail.com
อีเมลราคายา nlem.price@gmail.com
อีเมลแจ้งปัญหายาขาดแคลน drugshortages.th@gmail.com

  • Website Policy
  • Privacy Policy
  • Website Security Policy
  • Disclaimer

รองรับการทำงานบน Internet Explorer v9+, Firefox v.20+, Safari v.5+, Chrome v.25+, Opera v.10+

Sitemap
เมนูหลัก
  • ข้อมูลยา
  • บัญชียาหลัก
  • ราคายา
  • ข่าวประชาสัมพันธ์
  • คำถามที่พบบ่อย
  • เกี่ยวกับเรา
เมนูลัด
  • หน้าแรก
  • ระบบสมาชิก
  • ติดต่อเรา
  • เว็บลิงก์ที่สำคัญ

Follow us :
  • youtube.pnghttps://www.youtube.com/@NLEMFDA
  • line.pnghttps://lin.ee/k6QvQ4B
ผู้ชมเว็บไซต์ :

rss image ipv6 image w3c html image w3c css image
  • แบบสำรวจความพึงพอใจผู้รับบริการ
  • แบบสำรวจการให้บริการด้านข้อมูลเว็บไซต์
  • แบบสำรวจความพีงพอใจต่อเว็บไซต์
Copyright 2020 | สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

Subscribe

เลือกหัวข้อที่ท่านต้องการ Subscribe

no-popup